ความหมายของผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า
ผังงานแบ่งได้ 2 ประเภท
1. ผังงานระบบ (System Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
1. ผังงานระบบ (System Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
ประโยชน์ของผังงาน
1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define)
2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing)
3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Langua
1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define)
2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing)
3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Langua
สัญลักษณ์ของโฟลว์ชาร์ต
อัลกอริทึมมีหลายความหมายแตกต่างกันไปแล้วแต่ล่ะบุกคลจะคิด ยกมา 2 ตัวอย่าง
1.อัลกอริทึม หมายถึง กลุุ่มของขั้นตอนหรือกฏเกณฑ์ที่จะนำพาไปสู่การแก้ปัญหาได้
2.อัลกอริทึม หมายถึง ขั้นตอนวิธี ที่อธิบายว่างาน ๆ นั้นทำอย่างไร ซึ่งประกอบด้วยลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน
และรับประกันว่าเมื่อได้ปฏิบัติถูกตามขั้นตอนจนจบ จพได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามการ
และโดยปกติในชีวิตประจำวันของมนุษย์เรา ได้เกี่ยวข้องกับปัญหาเชิงอัลกอริทึมและอัลกอริทึมเป็นกิจวัตรอยู่แล้ว ยกตัวอย่างขั้นตอนการล้างรถและการเคลือบสีรถดังด้านล่างนี้ครับ 1.ปัญหาเชิกอัลกอริทึม = ต้องการล้างรถ 2.ชื่ออัลกอริทึม = การล้างรถ 3.วิธีการ = ฉีดน้ำล้างรถให้ทั่วเพื่อขจัดฝุ่นและเศษดินทรายต่างๆ ออก ผสมแชมพูล้างรถ 1 ฝาต่อน้ำครึ่งถัง นำฟองน้ำชุบน้ำที่ผสมแชมพู เช็ดทำความสะอาดให้ทั่ว ฉีดน้ำล้างให้สะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ หรือผ้าชามัวร์ที่สะอาดเช็ดให้แห้ง เป็นต้น บรรณานุกรม ชื่อผู้แต่ง โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์,ชื่อหนังสือ วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับปรับปรุง--กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น 2551 ,400 หน้า อ้างอิง บทที่ 8 หน้าที่ 231-232 |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น